การทำปลูกข้าวให้ได้ผลผลิตมากมาก นั้น จำเป็นต้องมีเทคนิค
น่ารู้เพื่อให้เกษตรกรได้นำไปใช้กัน
และนี้เป็น บทความที่ได้นำมาจากที่ื่อื่น
เพื่อให้ได้อ่านและลองทำตามกันดี ครับ
ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าว Organic fertilizer in rice fields
การปลูกข้าวให้ได้ผลผลิตที่สูงๆ
เรามักจำเป็นต้องมีการจัดการระบบการผลิต ข้าว ในแปลงปลูกให้ดี
เริ่มจากการเตรียมแปลงปลูกข้าว ต้องเตรียมดินในแปลงนาให้มีความร่วยซุย
หน้าดินลึกพอที่รากของต้นข้าวจะแผ่ลงไปหาธาตุอาหารในดินได้เต็มที่
ไม่ถูกกีดด้วยหน้าดินแข็งๆ ซึ่งรากข้าว ไม่สามารถลงไปลึกๆได้
ทำให้หาอาหารได้น้อยแล้ว ในช่วงหน้าหนาว โอกาสที่รากข้าวจะโดนอุณภูมิต่ำๆ
จากบริเวณหน้าดินทำให้ รากชะงักการเจริญเติบโต ข้าวมีรากสีดำ
ซึ่งเป็นเรื่องที่อาจสร้างความเสียหายต่อการให้ผลผลิตในแปลงนาได้มากพอสมควร
การ จัดการเพิ่มผลผลิตข้าวด้วยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าว ก็มีความจำเป็นไม่แพ้การเตรียมดินในแปลงนาข้าวของเรา ถ้าหากเราเลือกใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าวผิดชนิด เราก็อาจได้ต้นข้าว หรือตอซัง มากกว่าเมล็ดข้าวเปลือก ที่เต็มเม็ด หรือได้ฟางข้าวมากพอๆกับแกลบ เป็นที่ทราบกันดีว่าปุ๋ยอินทรีย์ที่ใช้ในนาข้าว ส่วนมากมักจะทำให้ดินร่วนซุย สามารถปรับสภาพความเป็นกรด ด่าง ในแปลงนาข้าว ทำให้ต้นข้าวเจริญเติบโตได้ดี แต่สิ่งที่ควรคำนึงในการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าว ก็คือวัตถุดิบที่ใช้ทำปุ๋ยอินทรีย์สำหรับใส่ในนาข้าว เพราะ ส่วนมากแล้วปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าว มักมีส่วนผสมของ ปุ๋ยคอก ประเภทมูลสัตว์ เป็นส่วนมาก ถ้าเป็นมูลสัตว์ประเภทกินหญ้าเป็นอาหาร มักจะประกอบไปด้วย ส่วนผสมที่เป็นซากพืช เมื่อเราเอามาใส่ต้นไม้ โดยเฉพาะข้าว จะทำให้ข้าวเจริญเติบโตทางลำต้นมากกว่า การให้ผลผลิต ทำให้ข้าวลำต้นสูงเกินความจำเป็นเหมือนกับเราใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 หรือ ปุ๋ยยูเรียนั่นเอง ดังนั้น ถ้าสามารถเลือกปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าว ได้ควรเลือกปุ๋ยที่มีสัดส่วนของมูลสัตว์ประเภทกินหัวอาหาร เช่น มูลสุกร มูลไก่ไข่ ซึ่งจะมีเศษโปรตีน เหลือทิ้งจำนวนมากในมูลสัตว์ประเภทนี้ ข้าวที่เราปลูกก็จะให้ผลผลิตเป็นเมล็ดข้าวที่มีน้ำหนัก และลำต้นไม่สูง ทำให้ไม่ล้มง่ายอีกด้วย
ดังนั้นการเลือกใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าว เราควรสอบถามถึงส่วนผสมของปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าว ให้แน่ใจเสียก่อน ยกเว้นเราต้องการปลูกข้าวเอาลำต้นข้าวเพื่อเกี่ยวฟางไว้ให้วัวควาย ก็ไม่ต้องสนใจว่าปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าว ทำมาจากอะไร ใส่ไปโลด เด้อพ่อแม่พีน้องชาวนา
การ จัดการเพิ่มผลผลิตข้าวด้วยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าว ก็มีความจำเป็นไม่แพ้การเตรียมดินในแปลงนาข้าวของเรา ถ้าหากเราเลือกใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าวผิดชนิด เราก็อาจได้ต้นข้าว หรือตอซัง มากกว่าเมล็ดข้าวเปลือก ที่เต็มเม็ด หรือได้ฟางข้าวมากพอๆกับแกลบ เป็นที่ทราบกันดีว่าปุ๋ยอินทรีย์ที่ใช้ในนาข้าว ส่วนมากมักจะทำให้ดินร่วนซุย สามารถปรับสภาพความเป็นกรด ด่าง ในแปลงนาข้าว ทำให้ต้นข้าวเจริญเติบโตได้ดี แต่สิ่งที่ควรคำนึงในการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าว ก็คือวัตถุดิบที่ใช้ทำปุ๋ยอินทรีย์สำหรับใส่ในนาข้าว เพราะ ส่วนมากแล้วปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าว มักมีส่วนผสมของ ปุ๋ยคอก ประเภทมูลสัตว์ เป็นส่วนมาก ถ้าเป็นมูลสัตว์ประเภทกินหญ้าเป็นอาหาร มักจะประกอบไปด้วย ส่วนผสมที่เป็นซากพืช เมื่อเราเอามาใส่ต้นไม้ โดยเฉพาะข้าว จะทำให้ข้าวเจริญเติบโตทางลำต้นมากกว่า การให้ผลผลิต ทำให้ข้าวลำต้นสูงเกินความจำเป็นเหมือนกับเราใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 หรือ ปุ๋ยยูเรียนั่นเอง ดังนั้น ถ้าสามารถเลือกปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าว ได้ควรเลือกปุ๋ยที่มีสัดส่วนของมูลสัตว์ประเภทกินหัวอาหาร เช่น มูลสุกร มูลไก่ไข่ ซึ่งจะมีเศษโปรตีน เหลือทิ้งจำนวนมากในมูลสัตว์ประเภทนี้ ข้าวที่เราปลูกก็จะให้ผลผลิตเป็นเมล็ดข้าวที่มีน้ำหนัก และลำต้นไม่สูง ทำให้ไม่ล้มง่ายอีกด้วย
ดังนั้นการเลือกใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าว เราควรสอบถามถึงส่วนผสมของปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าว ให้แน่ใจเสียก่อน ยกเว้นเราต้องการปลูกข้าวเอาลำต้นข้าวเพื่อเกี่ยวฟางไว้ให้วัวควาย ก็ไม่ต้องสนใจว่าปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าว ทำมาจากอะไร ใส่ไปโลด เด้อพ่อแม่พีน้องชาวนา
วิธีเตรียมดินปลูกข้าว ให้ได้ผลผลิตสูงๆ
วิธีเตรียมดินปลูกข้าว How
to prepare soil for planting rice. แบบใหม่ ที่สามารถเพิ่มผลผลิตข้าวได้มากกว่าไร่ละ 1000 กิโดลกรัม
วิธีการปลูกข้าวแบบนี้เป็นวิธีการที่เรามักทำกันอยู่แล้ว แต่สภาพของการทำนาข้าว
ซึ่งส่วนมากเป็นข้าว กข. หรือข้าวนาปรัง
ทำให้เรามักเร่งรีบในการเตรียมการเรื่องดิน
ซึ่งทำให้เราเสียโอกาสในการสร้างความสามารถในการหาอาหารให้กับต้นข้าว
เนื่องจากเรามักจะทำการเตรียมดิน หรือทำเทือก ในนาข้าว กันแบบ ลวกๆ
ทำให้หน้าดินที่เราใช้หว่านข้าวไม่ลึก รากของข้าวจึงหาอาหารได้แค่ผิวหน้าดิน
กินได้แต่ปุ๋ยข้าว ที่เราใส่ให้เท่านั่นธาตุอาหารในดิน
รากข้าวไม่สามารถเอาไปใช้ประโยชน์ได้ ข้าวของเราจึงให้ผลผลิตไม่เต็มที่
เรามาดูวิธีการเตรียมดินในแปลงนาข้าวแบบปราณีต กัน ว่าทำอย่างไร
การ เตรียมดินในนาก่อนหว่านข้าว หรือ ดำนา ไม่ว่าเราจะใช้รถไถนาเดินตาม หรือ รถไถนาแบบนั่งขับ แบบใช้โรตารี่ จอบหมุน เราควรทำการปรับความลึกให้ได้ความลึกของหน้าดินที่มากกว่าปกติ ถ้าเราสามารถเตรียมดินในแปลงนาข้าวในช่วงที่แปลงนาแห้งได้ก็จะเป็นการดีมาก ให้เราใช้ผาน 3 ในการไถครั้งแรก เพื่อทำการสลายหน้าดินให้ในนาให้มีความร่วนซุย หลังจากนั้นให้เราทำการหว่านปุ๋นเคมีสูตรเสมอ 15-15-15 ในอัตรา 4 ไร่ ต่อ กระสอบ พร้อมกับใส่ปุ๋ยคอกเช่นมูลไก่ไข่ มูลสุกร ให้หลีกเลี่ยงการใช้มูลจากสัตว์กินพืช เนื่องจาก มูลสัตว์กินพืชจะทำให้ต้นข้าวโตแต่ลำต้นเพียงอย่างเดียวทำให้ข้าวล้มง่าย หลังจากนั้นใช้ผาน 7 ไถอีกรอบ ก่อนไขน้ำเข้านา แล้วใช้รถไถเล็กทำเทือก เพื่อทำการหว่านแบบน้ำตรม หรือดำนาด้วยเครื่องดำนาต่อไป
ในการเตรียม ดินในแปลงนาข้าวสิ่งสำคัญก็คือการปรับโครงสร้างของดินให้มีความลึกมากพอที่ รากของข้าวจะแผ่ขยายลงไปได้ลึกมากที่สุด และสามารถหาอาหารได้มากโดยที่เราให้อาหารเสริม หรือปุ๋ยตามปกติ
วิธีการปลูกข้าวด้วยการเน้นการเตรียมดินแบบนี้ถ้าจะให้ผลดีควรเลือกพันธุ์ ข้าวที่มีอายุประมาณ 120- 140 วัน เช่น พันธุ์ข้าวหอมประทุม ซึ่งมีลักษณะพิเศษที่แตกกอดี และมีระแง้ถี่มาก ร่วมกับการใช้เทคนิคการให้ปุ๋ยทางใบสูตร 11-0-45 ฉีดพ่นเร่งการสร้างระแง้ในรวงข้าวเมื่อข้าวอายุ 55-65 วันด้วยก็จะช่วยให้ผลผลิตข้าวของเราเพิ่มขึ้นอย่างมากมาย จากประสบการณ์ในการทำนาข้าวแบบนี้ แม้ว่าเป็นนาดินทราย ข้าวก็สามารถให้ผลผลิตมากกว่า1200 กิโลกรัม ลองเอาวิธีการปลูกข้าว แบบนี้ไปใช้ดูครับ
เรามาดูวิธีการเตรียมดินในแปลงนาข้าวแบบปราณีต กัน ว่าทำอย่างไร
การ เตรียมดินในนาก่อนหว่านข้าว หรือ ดำนา ไม่ว่าเราจะใช้รถไถนาเดินตาม หรือ รถไถนาแบบนั่งขับ แบบใช้โรตารี่ จอบหมุน เราควรทำการปรับความลึกให้ได้ความลึกของหน้าดินที่มากกว่าปกติ ถ้าเราสามารถเตรียมดินในแปลงนาข้าวในช่วงที่แปลงนาแห้งได้ก็จะเป็นการดีมาก ให้เราใช้ผาน 3 ในการไถครั้งแรก เพื่อทำการสลายหน้าดินให้ในนาให้มีความร่วนซุย หลังจากนั้นให้เราทำการหว่านปุ๋นเคมีสูตรเสมอ 15-15-15 ในอัตรา 4 ไร่ ต่อ กระสอบ พร้อมกับใส่ปุ๋ยคอกเช่นมูลไก่ไข่ มูลสุกร ให้หลีกเลี่ยงการใช้มูลจากสัตว์กินพืช เนื่องจาก มูลสัตว์กินพืชจะทำให้ต้นข้าวโตแต่ลำต้นเพียงอย่างเดียวทำให้ข้าวล้มง่าย หลังจากนั้นใช้ผาน 7 ไถอีกรอบ ก่อนไขน้ำเข้านา แล้วใช้รถไถเล็กทำเทือก เพื่อทำการหว่านแบบน้ำตรม หรือดำนาด้วยเครื่องดำนาต่อไป
ในการเตรียม ดินในแปลงนาข้าวสิ่งสำคัญก็คือการปรับโครงสร้างของดินให้มีความลึกมากพอที่ รากของข้าวจะแผ่ขยายลงไปได้ลึกมากที่สุด และสามารถหาอาหารได้มากโดยที่เราให้อาหารเสริม หรือปุ๋ยตามปกติ
วิธีการปลูกข้าวด้วยการเน้นการเตรียมดินแบบนี้ถ้าจะให้ผลดีควรเลือกพันธุ์ ข้าวที่มีอายุประมาณ 120- 140 วัน เช่น พันธุ์ข้าวหอมประทุม ซึ่งมีลักษณะพิเศษที่แตกกอดี และมีระแง้ถี่มาก ร่วมกับการใช้เทคนิคการให้ปุ๋ยทางใบสูตร 11-0-45 ฉีดพ่นเร่งการสร้างระแง้ในรวงข้าวเมื่อข้าวอายุ 55-65 วันด้วยก็จะช่วยให้ผลผลิตข้าวของเราเพิ่มขึ้นอย่างมากมาย จากประสบการณ์ในการทำนาข้าวแบบนี้ แม้ว่าเป็นนาดินทราย ข้าวก็สามารถให้ผลผลิตมากกว่า1200 กิโลกรัม ลองเอาวิธีการปลูกข้าว แบบนี้ไปใช้ดูครับ
วิธีการใส่ปุ๋ยข้าว ให้ได้ผลผลิตสูงๆ ทำอย่างไร วันนี้้
มีเคล็ดลับในการทำนาปลูกข้าวให้ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นจากเดิมแบบก้าวกระโดด
การ ทำนาให้ได้ผลผลิตข้าวเปลือกเป็นจำนวนไร่ละประมาณ 1 ตัน สามารถทำได้แน่นอนครับ ไม่ต้องแปลกใจ ซึ่งการเพิ่มผลผลิตข้าวให้ได้มากนั้นมีปัจจัยในการปลูกข้าวไม่กี่อย่างดัง นี้
เรื่องแรกเลยเราต้องทำการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ดี ให้ได้เสียก่อน การใช้เมล็ดพันธุ์ที่ดีสามารถทำให้ผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมากแน่นอน ดูง่ายๆ ถ้าเราเลือกปลูกข้าวนาปี กับข้าว กข. แข่งกัน แนนอนว่าข้าวพันธุ์ กข. ย่อมให้ผลผลิตสูงกว่าแน่นอน หรือ ในสายพันธุ์ข้าว กข. ถ้าเราเลือกปลูกข้าวพันธุ์หอมประทุม เราก็จะได้ผลผลิตประมาณไร่ละ 1000กิโลกรัม ดังนั้นการตัดสินใจใช้พันธุ์ข้าวที่ดีย่อมส่งผลต่อการเพิ่มผลผลิตข้าวแน่นอน
ปัจจัย ต่อมา การเตรียมแปลงนา และวิธีการปลูกข้าว ที่ได้ผลดี นั้น เราต้องจัดการแปลงปลูกข้าวให้ดี วิธีที่ดีที่สุด ในการปลูกข้าวก็ตือการหว่านข้าวแบบนาน้ำตรม รองลงมาก็คือการดำนาข้าว ด้วยต้นกล้าอ่อนๆ อายุกล้าไม่ควรเกิน 20 วัน ครับ ส่วนมาก แล้วการดำนา เรามักใช้กล้าข้าวที่มีอายุ มากกว่า 1 เดือน ทำให้ได้ต้นข้าวที่แก่ ไม่เหมาะในการตั้งท้องให้ผลผลิต
การใส่ปุ๋ยข้าว เรื่องของปุ๋ยข้าวมีส่วนสำคัญมาก ใส่ปุ๋ยข้าวผิด แทนที่จะได้เมล็ดข้าวกับได้ฟางข้าว แทน หลักใกการใส่ปุ๋ยข้าวนั้นให้ใช้หลักการใส่ปุ๋ยแบบใส่ทีละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง จะทำให้ข้าว ได้ปุ๋ยไปบำรุงลำต้นได้เต็มที่
ทีนี้มาเข้าเรื่องวิธี การใสปุ๋ยข้าวเพื่อเร่งการแตกระแง้ให้รวงของข้าว เพื่อเพื่มจำนวนเมล็ดข้าวให้มากต่อ 1 รวง ทำอย่างไร ถ้าเราปลูกข้าว กข ให้เรา นับเวลาช่วงประมาณ 55- 60 วัน ให้ใส่ปุ๋ยยูเรีย ในอัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วฉีดพ่นด้วย ปุ๋ยทางใบสูตร 11-0-52 ในอัตรา 1กิโลกรัมต่อน้ำ 200 ลิตร ต่อ 4-5 ไร่ หลังจากนั้นช่วงข้าวตากเกษร ให้ทำการฉีดพ่นปุ๋ยทางใบสูตรเดิมอีกทีเป็นการเร่งน้ำนมให้กับเมล็ดข้าว ให้อ้วนใหญ่ มีน้ำหนักมาก
การใส่ปุ๋ยเร่งระแง้วิธีนี้ ถ้าหาจะใช้กับข้าวนาปี ให้ใส่ ในช่วงวันที่ 15-20 กันยายน ของทุกปี ซึ่งเป็นช่วงวันที่มีการเปลี่ยนแปลงของช่วงแสง จากกลางวันยาว เป็นกลางวันสั้น ข้าวนาปีจะเริ่มผลิ ตาดอกเพื่อตั้งท้องในช่วงนี่ของทุกปี หลังจากนั้น ให้ ตามด้วยการฉีดปุ๋ยทางใบช่วงข้าวกำลังผ่าหลาม หรือ เริ่มมีรวงโผล่ออกมาจากท้อง อีกที
วิธีการใส่ปุ๋ยข้าวแบบนี้ สามารถทำให้เราได้ผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้นจากเดิม มาก 20- 60 % เลยที่เดียว ลองไปใช้ดูครับ
การ ทำนาให้ได้ผลผลิตข้าวเปลือกเป็นจำนวนไร่ละประมาณ 1 ตัน สามารถทำได้แน่นอนครับ ไม่ต้องแปลกใจ ซึ่งการเพิ่มผลผลิตข้าวให้ได้มากนั้นมีปัจจัยในการปลูกข้าวไม่กี่อย่างดัง นี้
เรื่องแรกเลยเราต้องทำการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ดี ให้ได้เสียก่อน การใช้เมล็ดพันธุ์ที่ดีสามารถทำให้ผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมากแน่นอน ดูง่ายๆ ถ้าเราเลือกปลูกข้าวนาปี กับข้าว กข. แข่งกัน แนนอนว่าข้าวพันธุ์ กข. ย่อมให้ผลผลิตสูงกว่าแน่นอน หรือ ในสายพันธุ์ข้าว กข. ถ้าเราเลือกปลูกข้าวพันธุ์หอมประทุม เราก็จะได้ผลผลิตประมาณไร่ละ 1000กิโลกรัม ดังนั้นการตัดสินใจใช้พันธุ์ข้าวที่ดีย่อมส่งผลต่อการเพิ่มผลผลิตข้าวแน่นอน
ปัจจัย ต่อมา การเตรียมแปลงนา และวิธีการปลูกข้าว ที่ได้ผลดี นั้น เราต้องจัดการแปลงปลูกข้าวให้ดี วิธีที่ดีที่สุด ในการปลูกข้าวก็ตือการหว่านข้าวแบบนาน้ำตรม รองลงมาก็คือการดำนาข้าว ด้วยต้นกล้าอ่อนๆ อายุกล้าไม่ควรเกิน 20 วัน ครับ ส่วนมาก แล้วการดำนา เรามักใช้กล้าข้าวที่มีอายุ มากกว่า 1 เดือน ทำให้ได้ต้นข้าวที่แก่ ไม่เหมาะในการตั้งท้องให้ผลผลิต
การใส่ปุ๋ยข้าว เรื่องของปุ๋ยข้าวมีส่วนสำคัญมาก ใส่ปุ๋ยข้าวผิด แทนที่จะได้เมล็ดข้าวกับได้ฟางข้าว แทน หลักใกการใส่ปุ๋ยข้าวนั้นให้ใช้หลักการใส่ปุ๋ยแบบใส่ทีละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง จะทำให้ข้าว ได้ปุ๋ยไปบำรุงลำต้นได้เต็มที่
ทีนี้มาเข้าเรื่องวิธี การใสปุ๋ยข้าวเพื่อเร่งการแตกระแง้ให้รวงของข้าว เพื่อเพื่มจำนวนเมล็ดข้าวให้มากต่อ 1 รวง ทำอย่างไร ถ้าเราปลูกข้าว กข ให้เรา นับเวลาช่วงประมาณ 55- 60 วัน ให้ใส่ปุ๋ยยูเรีย ในอัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วฉีดพ่นด้วย ปุ๋ยทางใบสูตร 11-0-52 ในอัตรา 1กิโลกรัมต่อน้ำ 200 ลิตร ต่อ 4-5 ไร่ หลังจากนั้นช่วงข้าวตากเกษร ให้ทำการฉีดพ่นปุ๋ยทางใบสูตรเดิมอีกทีเป็นการเร่งน้ำนมให้กับเมล็ดข้าว ให้อ้วนใหญ่ มีน้ำหนักมาก
การใส่ปุ๋ยเร่งระแง้วิธีนี้ ถ้าหาจะใช้กับข้าวนาปี ให้ใส่ ในช่วงวันที่ 15-20 กันยายน ของทุกปี ซึ่งเป็นช่วงวันที่มีการเปลี่ยนแปลงของช่วงแสง จากกลางวันยาว เป็นกลางวันสั้น ข้าวนาปีจะเริ่มผลิ ตาดอกเพื่อตั้งท้องในช่วงนี่ของทุกปี หลังจากนั้น ให้ ตามด้วยการฉีดปุ๋ยทางใบช่วงข้าวกำลังผ่าหลาม หรือ เริ่มมีรวงโผล่ออกมาจากท้อง อีกที
วิธีการใส่ปุ๋ยข้าวแบบนี้ สามารถทำให้เราได้ผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้นจากเดิม มาก 20- 60 % เลยที่เดียว ลองไปใช้ดูครับ
วิธีการปลูกข้าว ไม่ให้เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล มาทำลาย ข้าว ใน แปลงนา
ของเรา
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
เป็นศัตรูพืชที่สำคัญของคนทำนาปลูกข้าว ชาวนาทุกคนรู้จักแมลงชนิดนี้ดี
เพราะบางทีแมลงชนิดนี้สร้าง ความเสียหายได้ในชั่วข้ามคืน ถึงกับหมดเนื้อหมดตัว
เรามาทำความรู้จัก เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล กันก่อน
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล มีลักษณะเป็นแมลงขนาดเล็ก 2-3 มิลลิเมตรสีน้ำตาล มีรูปร่าง 2ลักษณะ คือ ชนิดปีกยาว (macropterous form) และชนิดปีกสั้น (bracrypterous form)มีชื่อ ภาษาอังกฤษว่า Brown planthoppeพ และชื่อวิทยาศาสตร์: Nilaparvata lugens (Stal) ) เป็นแมลงศัตรูพืช ชนิดปากดูด โดยมักทำลาย ข้าว โดยดูดน้ำเลี้ยงจากต้นข้าวทุกระยะการเจริญเติบโตจนทำให้ข้าวแห้งตาย เป็นจุดๆ ในแปลงนา และขยายตัวเป็นวงกว้าง ออกไปตามปริมาณของเพลี้ยกระโดดที่เพ่ิมขึ้น ทำให้บริเวณที่มีเพลี้ยเกาะอยู่ มีลักษณะคล้ายใบโดนน้ำร้อนลวก ใบเหลือง แดงและต้นข้าวตาย หากข้าวที่ถูกดูดกินน้ำเลี้ยงไม่ตาย เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลจะเป็นพาหะนำเชื้อไวรัส ซึ่งทำให้เกิดโรคใบหงิก หรือโรคจู๋ ข้าวไม่ออกรวง สร้างความเสียหาย แก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าวอย่างมาก
วิธีการป้องกันเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลไม่ให้มาทำลายต้นข้าวในแปลงนาที่เราปลูก มีหลายวิธีการ แต่ในที่นี้จะแนะนำวิธีการ แบบง่ายๆ แต่เรา ไม่ค่อยจะทำกัน เรียกว่าเป็นการ ป้องกันเสียแต่เนิ่นๆ
วิธีแรก เริ่มจากการเตรียมแปลงนาปลูกข้าวให้สะอาด ปราศจากวัชพืช ซึ่งเป็นที่อาศัยของแมลงศัตรูข้าว เนื่องจากในบางครั้งหลังจากเราเก็บเกี่ยงผลผลิตข้าว รุ่นก่อนหน้านี้แล้ว อาจมีแมลงที่เป็นศัตรูของข้าวอาศัยอยู่ เราต้องตัด และเผาทำลายทิ้งให้หมด ให้เผาเฉพาะ วัชพืชตามคันนา ส่วนฟางข้าว ให้หมักด้วยจุินทรีย์สำหรับย่อยสลายตอซัง และฟางข้าว ดินในนาของเราจะได้มีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มขึ้น
วิธีที่สอง การหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าวให้ใช้ อัตราส่วน 30- 40 กิโลกรัมต่อ 1 ไร่ ในบางแปลงปลูกข้าว ใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวมากถึง 60 กิโลกรัมต่อ 1 ไร่ สิ้นเปลืองเมล็ดพันธุ์โดยใช่เหตุ ไม่ควรมากกว่านี้ เนื่องจากจะทำให้ ต้นข้าวขึ้นอย่าง แออัด หนาแน่นเกินไป แสงแดดส่องลงไปไม่ถึง โคนต้นข้าว ทำให้เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลชอบมาอาศัยและวางไข่ และดูดน้ำเลี้ยงต้นข้าว รวมทั้งทำให้การเชื้อรา ได้ง่ายๆ
วิธีที่สาม การใส่ปุ๋ยให้กลับแปลงนาปลูกข้าว ควรแบ่งระยะการใส่เป็นช่วงๆ หากเป็นไปได้ แนะนำให้ใส่ 4 ระยะ ของการเจริญเติบโตของข้าวดังนี้
ระยะที่ 1 หลังจากไขน้ำเข้านา ข้าวอายุ 10-20 วัน ใส่ปุ๋ย ยูเรีย แบบ หว่านลงแปลงนาข้าว
ระยะที่ 2 ข้าวอายุ 35- 45 วัน ใส่ ปุ๋ยเต็มสูตร ที่ีมี N P K โดยให้ ปุ๋ยตัวแรก สูงที่สุดและไล่ตามมา ต่ำสุด ที่ตัวท้าย
ระยะที่ 3 ข้าว อายุ 55-65 วัน ใส่ปุ๋ยผสมทางใบ N และ Kโดยให้ มีสูตร N ต่ำกว่า K 3-5เท่า เช่น สูตร 11-0-52 โดยการฉีดพ่นทางเครื่อง อัดแรงดัน แบบลากสาย อัตตราส่วน 1 กิโลกรัมต่อ น้ำ 200 ลิตร ซึ่งปุ๋ยสูตรนี้ จะมีส่วนทำให้ ข้าวมีการพัตนาตาดอก สร้างระแง้ เพื่อรองรับเมล็ด ออกมาเป็นจำนวนมาก เป็นเคล็ดลับในการเพิ่มผลผลิตข้าว ที่ชาวนา หรือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว น้อยคนที่จะรู้ ข้อสำคัญเราต้องคาดคะเนเวลาให้เหมาะสมในช่วงที่ข้าวกำลังสร้างตา ดอก ก่อนการตั้งท้อง
ระยะที่ 4 ข้าว ตั้งท้อง ใส่ปุ๋ยผสมเต็มสูตร N P K โดยให้มี Kสูงที่สุด ในจำนวน ธาตุอาหาร 3 ตัว ร่วมกับการใช้ปุ๋ยทางใบ สูตร 11-0-52
ในที่นี้ จะยัง ไม่ขอกล่าวรายระเอียดลึกๆ เกี่ยวกับ ปุ๋ยข้าว แต่ที่นำเสนอเรื่องวิธีการใส่ปุ๋ยข้าว มามากพอสมควรเพราะว่าตามปกติ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวมักจะใช้ ปุ๋ย ยูเรีย( N ) เป็นจำนวนมาก ตลอดอายุ การเจริญเติบโตของข้าว ซึ่งทำให้ ต้นข้าวมีความอ่อนแอ เนื่องจากปุ๋ยยูเรีย จะไปเร่งการเจริญเติบโตทางใบและลำต้นข้าวเพียงอย่างเดียว ทำให้ใบเขียว ต้นสูง แต่ผลเสียที่ตามมาคือ แมลงแทบทุกชนิดชอบต้นข้าวที่มีลักษณะอวบอ้วนที่เกิดจากการใช้ N เกินความจำเป็น โดยเฉพาะเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ทำให้เราต้องเสียค่าใช้จ่ายในการกำจัดเพลี้ยกระโดด เพิ่มขึ้น หากรอดจากเพลี้ยกระโดด ข้าวที่ให้ผลผลิตระยะ ก่อนการเก็บเกี่ยว อาจล้มง่าย ซึ่งเป็นที่รู้ดีว่าหากข้าวล้มพังพาบกับพื้นนาเสียแล้ว การเก็บเกี่ยว ก็จะไม่ได้ผลลิตเต็มที่ พอๆกับการถูกทำลายด้วยเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
วิธีการวิธีการปลูกข้าว ไม่ให้เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลมาทำลายข้าวในแปลงนาของเรา ดังกล่าวมาเป็นวิธีการที่ต้องมีการประยุกต์ใช้ให้เข้ากับสภาพแปลงนาของแต่ละ คน รวมถึงสายพันธุ์ข้าวที่ทำการปลูกด้วย
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล มีลักษณะเป็นแมลงขนาดเล็ก 2-3 มิลลิเมตรสีน้ำตาล มีรูปร่าง 2ลักษณะ คือ ชนิดปีกยาว (macropterous form) และชนิดปีกสั้น (bracrypterous form)มีชื่อ ภาษาอังกฤษว่า Brown planthoppeพ และชื่อวิทยาศาสตร์: Nilaparvata lugens (Stal) ) เป็นแมลงศัตรูพืช ชนิดปากดูด โดยมักทำลาย ข้าว โดยดูดน้ำเลี้ยงจากต้นข้าวทุกระยะการเจริญเติบโตจนทำให้ข้าวแห้งตาย เป็นจุดๆ ในแปลงนา และขยายตัวเป็นวงกว้าง ออกไปตามปริมาณของเพลี้ยกระโดดที่เพ่ิมขึ้น ทำให้บริเวณที่มีเพลี้ยเกาะอยู่ มีลักษณะคล้ายใบโดนน้ำร้อนลวก ใบเหลือง แดงและต้นข้าวตาย หากข้าวที่ถูกดูดกินน้ำเลี้ยงไม่ตาย เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลจะเป็นพาหะนำเชื้อไวรัส ซึ่งทำให้เกิดโรคใบหงิก หรือโรคจู๋ ข้าวไม่ออกรวง สร้างความเสียหาย แก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าวอย่างมาก
วิธีการป้องกันเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลไม่ให้มาทำลายต้นข้าวในแปลงนาที่เราปลูก มีหลายวิธีการ แต่ในที่นี้จะแนะนำวิธีการ แบบง่ายๆ แต่เรา ไม่ค่อยจะทำกัน เรียกว่าเป็นการ ป้องกันเสียแต่เนิ่นๆ
วิธีแรก เริ่มจากการเตรียมแปลงนาปลูกข้าวให้สะอาด ปราศจากวัชพืช ซึ่งเป็นที่อาศัยของแมลงศัตรูข้าว เนื่องจากในบางครั้งหลังจากเราเก็บเกี่ยงผลผลิตข้าว รุ่นก่อนหน้านี้แล้ว อาจมีแมลงที่เป็นศัตรูของข้าวอาศัยอยู่ เราต้องตัด และเผาทำลายทิ้งให้หมด ให้เผาเฉพาะ วัชพืชตามคันนา ส่วนฟางข้าว ให้หมักด้วยจุินทรีย์สำหรับย่อยสลายตอซัง และฟางข้าว ดินในนาของเราจะได้มีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มขึ้น
วิธีที่สอง การหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าวให้ใช้ อัตราส่วน 30- 40 กิโลกรัมต่อ 1 ไร่ ในบางแปลงปลูกข้าว ใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวมากถึง 60 กิโลกรัมต่อ 1 ไร่ สิ้นเปลืองเมล็ดพันธุ์โดยใช่เหตุ ไม่ควรมากกว่านี้ เนื่องจากจะทำให้ ต้นข้าวขึ้นอย่าง แออัด หนาแน่นเกินไป แสงแดดส่องลงไปไม่ถึง โคนต้นข้าว ทำให้เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลชอบมาอาศัยและวางไข่ และดูดน้ำเลี้ยงต้นข้าว รวมทั้งทำให้การเชื้อรา ได้ง่ายๆ
วิธีที่สาม การใส่ปุ๋ยให้กลับแปลงนาปลูกข้าว ควรแบ่งระยะการใส่เป็นช่วงๆ หากเป็นไปได้ แนะนำให้ใส่ 4 ระยะ ของการเจริญเติบโตของข้าวดังนี้
ระยะที่ 1 หลังจากไขน้ำเข้านา ข้าวอายุ 10-20 วัน ใส่ปุ๋ย ยูเรีย แบบ หว่านลงแปลงนาข้าว
ระยะที่ 2 ข้าวอายุ 35- 45 วัน ใส่ ปุ๋ยเต็มสูตร ที่ีมี N P K โดยให้ ปุ๋ยตัวแรก สูงที่สุดและไล่ตามมา ต่ำสุด ที่ตัวท้าย
ระยะที่ 3 ข้าว อายุ 55-65 วัน ใส่ปุ๋ยผสมทางใบ N และ Kโดยให้ มีสูตร N ต่ำกว่า K 3-5เท่า เช่น สูตร 11-0-52 โดยการฉีดพ่นทางเครื่อง อัดแรงดัน แบบลากสาย อัตตราส่วน 1 กิโลกรัมต่อ น้ำ 200 ลิตร ซึ่งปุ๋ยสูตรนี้ จะมีส่วนทำให้ ข้าวมีการพัตนาตาดอก สร้างระแง้ เพื่อรองรับเมล็ด ออกมาเป็นจำนวนมาก เป็นเคล็ดลับในการเพิ่มผลผลิตข้าว ที่ชาวนา หรือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว น้อยคนที่จะรู้ ข้อสำคัญเราต้องคาดคะเนเวลาให้เหมาะสมในช่วงที่ข้าวกำลังสร้างตา ดอก ก่อนการตั้งท้อง
ระยะที่ 4 ข้าว ตั้งท้อง ใส่ปุ๋ยผสมเต็มสูตร N P K โดยให้มี Kสูงที่สุด ในจำนวน ธาตุอาหาร 3 ตัว ร่วมกับการใช้ปุ๋ยทางใบ สูตร 11-0-52
ในที่นี้ จะยัง ไม่ขอกล่าวรายระเอียดลึกๆ เกี่ยวกับ ปุ๋ยข้าว แต่ที่นำเสนอเรื่องวิธีการใส่ปุ๋ยข้าว มามากพอสมควรเพราะว่าตามปกติ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวมักจะใช้ ปุ๋ย ยูเรีย( N ) เป็นจำนวนมาก ตลอดอายุ การเจริญเติบโตของข้าว ซึ่งทำให้ ต้นข้าวมีความอ่อนแอ เนื่องจากปุ๋ยยูเรีย จะไปเร่งการเจริญเติบโตทางใบและลำต้นข้าวเพียงอย่างเดียว ทำให้ใบเขียว ต้นสูง แต่ผลเสียที่ตามมาคือ แมลงแทบทุกชนิดชอบต้นข้าวที่มีลักษณะอวบอ้วนที่เกิดจากการใช้ N เกินความจำเป็น โดยเฉพาะเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ทำให้เราต้องเสียค่าใช้จ่ายในการกำจัดเพลี้ยกระโดด เพิ่มขึ้น หากรอดจากเพลี้ยกระโดด ข้าวที่ให้ผลผลิตระยะ ก่อนการเก็บเกี่ยว อาจล้มง่าย ซึ่งเป็นที่รู้ดีว่าหากข้าวล้มพังพาบกับพื้นนาเสียแล้ว การเก็บเกี่ยว ก็จะไม่ได้ผลลิตเต็มที่ พอๆกับการถูกทำลายด้วยเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
วิธีการวิธีการปลูกข้าว ไม่ให้เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลมาทำลายข้าวในแปลงนาของเรา ดังกล่าวมาเป็นวิธีการที่ต้องมีการประยุกต์ใช้ให้เข้ากับสภาพแปลงนาของแต่ละ คน รวมถึงสายพันธุ์ข้าวที่ทำการปลูกด้วย
วิธีการกำจัดข้าวดีด ข้าวนก ข้าววัชพืช ในแปลงนาปลูกข้าว อย่างได้ผล
การทำนาปลูกข้าว กข หรือการปลูกข้าวนาปรัง ในปัจจุบันนี้
นอกจากจะมีปัญหาเรื่องโรคของข้าว และแมลงศัตรูข้าว
แล้วเกษตรกรผู้ปลูกข้าวยังเจอกับ ข้าววัชพืช บางท้องที่เรียกว่าข้าวนก หรือข้าวดีด
ซึ่งข้าวพวกนี้จะมี ลักษณะ คล้ายต้นข้าวปกติ แต่หลังจาก
เจริญเติบโตมาได้ระยะหนึ่งจะออกรวง และสุกก่อนข้าวที่เราปลูก
เมล็ดข้าวดีดที่สุกแล้วจะมีลักษณะเหมือนกับเมล็ดข้าวที่เราปลูก แต่มีขนาดเมล็ดเล็ก สั้น บางชนิดมีหาง บางชนิดมีสีน้ำตาล เแตกต่างกันไปตามสภาพ การกลายพันธุ์ ของข้าวที่ปลูก แต่ส่วนมาข้าววัชพืชพวกนี้จะสุกไวกว่าพันธุ์ข้าวปกติ และหลุดร่วงง่าย แม้ลมพัดเบาๆ ขนาดนกบินผ่าน จึงเป็นที่มาของคำว่าข้าวดีด ข้าวนก นั่นเอง
ความที่ข้าววัชพืชพวกนี้ สุกไว ร่วงง่าย ทำให้เกิดการขยายพันธุ์ผสมปนไปกับพันธุ์ข้าวปลูกหลัก ส่งผลให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ขาดทุน ย่อยยับ เนื่องจากหว่านข้าวแล้วได้แต่ ต้นข้าววัชพืช
วิธีการกำจัดข้าววัชพืช ข้าวดีด ข้าวนกที่ได้ผลดี คือการงดการทำนาข้าวรุ่นต่อไป เป็นการพักดิน ในช่วงเวลาหนึ่งๆเท่านั้นเอง แต่การพักดินในแแบนี้จะต้องมีการทำเทือก ไถพรวน เตีรยมดินเหมือนกับการทำนาทุกหย่างแต่เราจะไม่หว่านพันธุ์ข้าวปลูกลงไปเท่า นั้นเอง หลังจากเตรียมดินเรียบร้อยให้ ไขน้ำออกจากแปลงนา ทิ้งไว้ให้ข้าววัชพืชงอก 10-15 วัน แล้ว ไถพรวน เตรียมดินแบบเดิม อีก ครบ 3 รอบ ให้สังเกต ดูว่า ยังมีข้าววัชพืชงอกอีกหรือไม่ ส่วนมากหลังจากรอบที่ 3 ไปแล้ว ข้าววัชพืช จะมีเหลือน้อยมาก เราก็ทำนาปลูกข้าวได้ตามปกติ
เราจำเป็นต้องเสียเวลาเพื่อกำจัดข้าววัชพืชพวกนี้ 1-2 เดือน แต่คุ้มค่ากว่าการปล่อยให้ ข้าวดีด ข้าววัชพืชพวกนี้ขึ้นมาปะปน กับพันธุ์ข้าวหลักที่เราปลูก มิฉะนั้นท่านจะเสียเงิน หว่านปุ๋ยบำรุงข้าววัชพืชแทนข้าวที่ท่านต้องการจะเก็บเกี่ยว
จำไว้ว่า วิธีการกำจัดข้าววัชพืช ข้าวดีด ข้าวนกด้วยสารเคมีที่ได้ผลดี นั้น ยังไม่มี นะครับ หากจะให้แปลงนาข้าวของท่าน ปราศจากข้าววัชพืช ให้ใช้วิธีการดังกล่าวร่วมกับการ กับข้าวดีดด้วยมือ เพื่อไม่ให้ มีเมล็ดพันธุ์ข้าววัชพืชหลงเหลืออยู่ในแปลงนาอีกต่อไป
เมล็ดข้าวดีดที่สุกแล้วจะมีลักษณะเหมือนกับเมล็ดข้าวที่เราปลูก แต่มีขนาดเมล็ดเล็ก สั้น บางชนิดมีหาง บางชนิดมีสีน้ำตาล เแตกต่างกันไปตามสภาพ การกลายพันธุ์ ของข้าวที่ปลูก แต่ส่วนมาข้าววัชพืชพวกนี้จะสุกไวกว่าพันธุ์ข้าวปกติ และหลุดร่วงง่าย แม้ลมพัดเบาๆ ขนาดนกบินผ่าน จึงเป็นที่มาของคำว่าข้าวดีด ข้าวนก นั่นเอง
ความที่ข้าววัชพืชพวกนี้ สุกไว ร่วงง่าย ทำให้เกิดการขยายพันธุ์ผสมปนไปกับพันธุ์ข้าวปลูกหลัก ส่งผลให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ขาดทุน ย่อยยับ เนื่องจากหว่านข้าวแล้วได้แต่ ต้นข้าววัชพืช
วิธีการกำจัดข้าววัชพืช ข้าวดีด ข้าวนกที่ได้ผลดี คือการงดการทำนาข้าวรุ่นต่อไป เป็นการพักดิน ในช่วงเวลาหนึ่งๆเท่านั้นเอง แต่การพักดินในแแบนี้จะต้องมีการทำเทือก ไถพรวน เตีรยมดินเหมือนกับการทำนาทุกหย่างแต่เราจะไม่หว่านพันธุ์ข้าวปลูกลงไปเท่า นั้นเอง หลังจากเตรียมดินเรียบร้อยให้ ไขน้ำออกจากแปลงนา ทิ้งไว้ให้ข้าววัชพืชงอก 10-15 วัน แล้ว ไถพรวน เตรียมดินแบบเดิม อีก ครบ 3 รอบ ให้สังเกต ดูว่า ยังมีข้าววัชพืชงอกอีกหรือไม่ ส่วนมากหลังจากรอบที่ 3 ไปแล้ว ข้าววัชพืช จะมีเหลือน้อยมาก เราก็ทำนาปลูกข้าวได้ตามปกติ
เราจำเป็นต้องเสียเวลาเพื่อกำจัดข้าววัชพืชพวกนี้ 1-2 เดือน แต่คุ้มค่ากว่าการปล่อยให้ ข้าวดีด ข้าววัชพืชพวกนี้ขึ้นมาปะปน กับพันธุ์ข้าวหลักที่เราปลูก มิฉะนั้นท่านจะเสียเงิน หว่านปุ๋ยบำรุงข้าววัชพืชแทนข้าวที่ท่านต้องการจะเก็บเกี่ยว
จำไว้ว่า วิธีการกำจัดข้าววัชพืช ข้าวดีด ข้าวนกด้วยสารเคมีที่ได้ผลดี นั้น ยังไม่มี นะครับ หากจะให้แปลงนาข้าวของท่าน ปราศจากข้าววัชพืช ให้ใช้วิธีการดังกล่าวร่วมกับการ กับข้าวดีดด้วยมือ เพื่อไม่ให้ มีเมล็ดพันธุ์ข้าววัชพืชหลงเหลืออยู่ในแปลงนาอีกต่อไป
ปลูกข้าวหน้าแล้ง ดูแลน้ำให้พอเพียง
ช่วงนี้เข้าสู่หน้าแล้ง น้ำสำหรับการทำนาข้าว กข หรือข้าวนาปรัง
อาจมีน้อย ไม่เพียงพอต่อการปลูกข้าวนอกฤดูกาล ขอให้ทำการตรวจสอบแหล่งน้ำชลประทานให้ดี
ว่าจะมีเพียงพอหรือไม่
ปีนี้มีการกักเก็บน้ำสำรองในเขื่อนขนาดใหญ่ น้อยมาก สำหรับผู้ที่ทำนาข้าวไปแล้ว ให้เร่งสำรวจแปลงนาข้าวของเราว่ามี บ่อน้ำสำรองไว้หรือยัง ควรเตรียมการเสียแต่เนิ่นๆ นะครับ เพราะข้าว มีความต้องการใช้น้ำมาก โดยเฉพะช่วง ข้าว กำลังออกรวง ถ้าช่วงนี้ ขาดน้ำ จะส่งผลให้ผลผลิตข้าวลดลง อย่างมาก อาจทำให้การลงทุนปลูกข้าวครั้งนี้ประสพกับภาวะการขาดทุนได้ทีเดียว
ปีนี้มีการกักเก็บน้ำสำรองในเขื่อนขนาดใหญ่ น้อยมาก สำหรับผู้ที่ทำนาข้าวไปแล้ว ให้เร่งสำรวจแปลงนาข้าวของเราว่ามี บ่อน้ำสำรองไว้หรือยัง ควรเตรียมการเสียแต่เนิ่นๆ นะครับ เพราะข้าว มีความต้องการใช้น้ำมาก โดยเฉพะช่วง ข้าว กำลังออกรวง ถ้าช่วงนี้ ขาดน้ำ จะส่งผลให้ผลผลิตข้าวลดลง อย่างมาก อาจทำให้การลงทุนปลูกข้าวครั้งนี้ประสพกับภาวะการขาดทุนได้ทีเดียว
การปลูกข้าว ให้ได้ผลผลิตสูง เกษตรกรต้อง
มีวิธีการปลูกและดูแลรักษาอย่างดีเท่านั้น และจะต้องมีความเข้าใจก่อนว่า ...
เมล็ดพันธุ์ข้าว ที่ภาครัฐส่งเสริมให้ปลูกนั้น ควรได้รับการดูแลอย่างสม่ำเสมอ
เพราะพันธุ์ข้าวไม่เหมือนกับพันธุ์พื้นเมือง ที่ปลูกกันมาตั้งแต่สมัยก่อน
ซึ่งจะมีข้อแตกต่างกันหลายประการ ดังนี้ ... รูปต้นดี สูงประมาณ 10-120 เซนติเมตร
แตกกอมากใบสีเขียวแก่ ใบตรงไม่โค้งงอ มีความต้านทานต่อโรคและแมลง
ตอบสนองต่อปุ๋ยสูง
คือ..ให้ผลผลิตมากขึ้นเมื่อใส่ปุ๋ยมากขึ้นในที่ฝนแล้งหรือฝนทิ้งช่วงเป็น ประจำ
ให้เปลี่ยนวิธีปลูกข้าว จากการปักดำมาปลูกโดยการหว่านข้าวแห้งไม่ควรรอให้ฝนตก
ได้น้ำพอเพียงในการตากกล้าและปักดำ เพราะจะล่วงเข้ามาในฤดูกาลมาก
ทำให้ข้าวที่ปักดำไม่เท่าไรก็จะตั้งท้องและออกดอก ทำให้ได้ผลผลิตต่ำ
ดังนั้น การปลูกข้าวเพื่อให้ได้ผลผลิตสูงควรปฏิบัติดังนี้
พิจารณาพันธุ์
การรู้คุณสมบัติของพันธุ์ข้าวก่อนปลูก จะทำให้สามารถดูแลรักษาพันธุ์ข้าวนั้นได้อย่างเหมาะสม ไม่เกิดความเสียหายและรักษาพันธุ์ข้าวให้บริสุทธิ์ถูกต้องตรงตามพันธุ์
- เป็นพันธุ์ข้าวนาปีหรือนาปรัง มีอายุเก็บเกี่ยวเมื่อไร
- มีรูปแบบ ขนาด สี ต้น รวง และเมล็ดอย่างไร เมล็ดร่วงหล่นง่ายหรือยาก
- มีข้อดีและข้อด้อยอย่างไร เช่น แตกกอดีหรือไม่ ต้านทานโรคแมลงอะไร เป็นต้น
- ข้าวพันธุ์ไวต่อช่วงแสง (photoperiod sensitive varieties)
เป็น พันธุ์ข้าวที่จะออกดอกได้ในช่วงวันสั้น (น้อยกว่า 12 ชั่วโมง) ในประเทศไทยจะอยู่ในช่วงเดือนกันยายน-ธันวาคม (ดังยกตัวอย่างมาแล้ว) ข้าวพันธุ์ไวต่อช่วงแสงนี้จะปลูกได้เฉพาะ นาปี ถ้าปลูกในนาปรังจะไม่ออกดอก พันธุ์ไวต่อช่วงแสงนี้ได้แก่ พันธุ์พื้นเมืองทั่วไป และพันธุ์ กข. ที่ไวต่อช่วงแสงได้ กข.5, กข.6, กข.8, กข.13, กข.15, กข.19, และกข.17
- ข้าวพันธุ์ไม่ไวต่อช่วงแสง (photoperiod insensitive varieties) พันธุ์ข้าวจำพวกนี้จะออกดอกได้โดยไม่ขึ้นกับความยาวของช่วงวันจะขึ้นอยู่กับ อายุเก็บเกี่ยวที่ค่อนข้างแน่นอน และใช้เป็นพันธุ์ข้าวที่ปลูกในนาปรัง ซึ่งต้องอาศัยน้ำชลประทาน พันธุ์ต่าง ๆ ได้แก่ กข.1,กข.2, กข.3, กข.4, กข.7, กข.9, กข.10, กข.11, กข.17, กข.21, กข.23 และ กข.25 ส่วนพันธุ์พื้นเมืองมีอยู่พันธุ์เดียว คือ พันธุ์เหลืองทอง
ข้อพิจารณาพันธุ์ข้าวมาปลูก
น้ำ ลึกไม่เกิน 50 ซม. พันธุ์ข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง (ต้นเตี้ย) : ปลูกเดือนมีนาคม อาทิ ชัยนาท ๑, พิษณุโลก ๖๐-๒, สุพรรณบุรี ๑ / สุพรรณบุรี ๒ / เหนียวสันปาตอง, กำพาย,เหลืองประทิว ๑๒๓, นางพญา ๑๓๒
น้ำ ลึกไม่เกิน 80 ซม. พันธุ์ข้าวเจ้าไวต่อช่วงแสง (ต้นสูง) : ปลูกเดือนสิงหาคม อาทิ พิษณุโลก ๖๐-๑, หอมพิษณุโลก ๑, ขาวดอกมะลิ ๑๐๕, กข ๑๕, เหลืองประทิว ๑๒๓, ขาวตาแห้ง ๑๗ เป็นต้น
นาหว่านข้าวแห้ง หรือ นาหว่านสำรวย พันธุ์ข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง (ต้นเตี้ย) : พันธุ์ข้าวควรมีอายุพอเหมาะกับช่วงฝนตก อาทิ ตระกูล กข., เหมยนอง ๖๓, ขาวดอกมะลิ, เหลืองใหญ่,เผือกน้ำ ๔๓, สุพรรณบุรี ๖๐, ปทุมธานี ๖๐, ชุมแพ ๖๐, พัทลุง ๖๐, ชัยนาท ๑, หอมคลองหลวง ๑, ดอกพยอม, ปิ่นแก้ว ๕๖, เก้าราง ๘๘
เมล็ดพันธุ์
อัตราเมล็ดพันธุ์ที่ใช้ ควรตรวจเมล็ดพันธุ์ก่อนเพาะดังนี้
- เมล็ดพันธุ์ต้องสะอาดและไม่มีโรคแมลง
- ไม่มีเมล็ดข้าวพันธุ์อื่นๆปะปน ถ้ามีเมล็ดพันธุ์ข้าวอื่น ๆ ปะปนไม่มากให้เก็บออก
- ไม่มีเมล็ดวัชพืชปะปน ถ้ามีปะปนให้ฝัด การร่อน การคัดน้ำเกลือ หรือเปลี่ยนเมล็ดพันธุ์ใหม่
- ทดสอบความงอกของเมล็ดก่อน เมล็ดที่นำไปเพาะควรงอกไม่ต่ำกว่า 80 เปอร์เซ็นต์
- อัตราเมล็ดพันธุ์ที่ใช้ตกกล้า 50 กรัมต่อ 1 ตารางเมตร หรือไร่ละ 80 กิโลกรัม
- นาหว่านใช้เมล็ดพันธุ์ 10 -15 กก./ไร่
ดังนั้น การปลูกข้าวเพื่อให้ได้ผลผลิตสูงควรปฏิบัติดังนี้
พิจารณาพันธุ์
การรู้คุณสมบัติของพันธุ์ข้าวก่อนปลูก จะทำให้สามารถดูแลรักษาพันธุ์ข้าวนั้นได้อย่างเหมาะสม ไม่เกิดความเสียหายและรักษาพันธุ์ข้าวให้บริสุทธิ์ถูกต้องตรงตามพันธุ์
- เป็นพันธุ์ข้าวนาปีหรือนาปรัง มีอายุเก็บเกี่ยวเมื่อไร
- มีรูปแบบ ขนาด สี ต้น รวง และเมล็ดอย่างไร เมล็ดร่วงหล่นง่ายหรือยาก
- มีข้อดีและข้อด้อยอย่างไร เช่น แตกกอดีหรือไม่ ต้านทานโรคแมลงอะไร เป็นต้น
- ข้าวพันธุ์ไวต่อช่วงแสง (photoperiod sensitive varieties)
เป็น พันธุ์ข้าวที่จะออกดอกได้ในช่วงวันสั้น (น้อยกว่า 12 ชั่วโมง) ในประเทศไทยจะอยู่ในช่วงเดือนกันยายน-ธันวาคม (ดังยกตัวอย่างมาแล้ว) ข้าวพันธุ์ไวต่อช่วงแสงนี้จะปลูกได้เฉพาะ นาปี ถ้าปลูกในนาปรังจะไม่ออกดอก พันธุ์ไวต่อช่วงแสงนี้ได้แก่ พันธุ์พื้นเมืองทั่วไป และพันธุ์ กข. ที่ไวต่อช่วงแสงได้ กข.5, กข.6, กข.8, กข.13, กข.15, กข.19, และกข.17
- ข้าวพันธุ์ไม่ไวต่อช่วงแสง (photoperiod insensitive varieties) พันธุ์ข้าวจำพวกนี้จะออกดอกได้โดยไม่ขึ้นกับความยาวของช่วงวันจะขึ้นอยู่กับ อายุเก็บเกี่ยวที่ค่อนข้างแน่นอน และใช้เป็นพันธุ์ข้าวที่ปลูกในนาปรัง ซึ่งต้องอาศัยน้ำชลประทาน พันธุ์ต่าง ๆ ได้แก่ กข.1,กข.2, กข.3, กข.4, กข.7, กข.9, กข.10, กข.11, กข.17, กข.21, กข.23 และ กข.25 ส่วนพันธุ์พื้นเมืองมีอยู่พันธุ์เดียว คือ พันธุ์เหลืองทอง
ข้อพิจารณาพันธุ์ข้าวมาปลูก
น้ำ ลึกไม่เกิน 50 ซม. พันธุ์ข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง (ต้นเตี้ย) : ปลูกเดือนมีนาคม อาทิ ชัยนาท ๑, พิษณุโลก ๖๐-๒, สุพรรณบุรี ๑ / สุพรรณบุรี ๒ / เหนียวสันปาตอง, กำพาย,เหลืองประทิว ๑๒๓, นางพญา ๑๓๒
น้ำ ลึกไม่เกิน 80 ซม. พันธุ์ข้าวเจ้าไวต่อช่วงแสง (ต้นสูง) : ปลูกเดือนสิงหาคม อาทิ พิษณุโลก ๖๐-๑, หอมพิษณุโลก ๑, ขาวดอกมะลิ ๑๐๕, กข ๑๕, เหลืองประทิว ๑๒๓, ขาวตาแห้ง ๑๗ เป็นต้น
นาหว่านข้าวแห้ง หรือ นาหว่านสำรวย พันธุ์ข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง (ต้นเตี้ย) : พันธุ์ข้าวควรมีอายุพอเหมาะกับช่วงฝนตก อาทิ ตระกูล กข., เหมยนอง ๖๓, ขาวดอกมะลิ, เหลืองใหญ่,เผือกน้ำ ๔๓, สุพรรณบุรี ๖๐, ปทุมธานี ๖๐, ชุมแพ ๖๐, พัทลุง ๖๐, ชัยนาท ๑, หอมคลองหลวง ๑, ดอกพยอม, ปิ่นแก้ว ๕๖, เก้าราง ๘๘
เมล็ดพันธุ์
อัตราเมล็ดพันธุ์ที่ใช้ ควรตรวจเมล็ดพันธุ์ก่อนเพาะดังนี้
- เมล็ดพันธุ์ต้องสะอาดและไม่มีโรคแมลง
- ไม่มีเมล็ดข้าวพันธุ์อื่นๆปะปน ถ้ามีเมล็ดพันธุ์ข้าวอื่น ๆ ปะปนไม่มากให้เก็บออก
- ไม่มีเมล็ดวัชพืชปะปน ถ้ามีปะปนให้ฝัด การร่อน การคัดน้ำเกลือ หรือเปลี่ยนเมล็ดพันธุ์ใหม่
- ทดสอบความงอกของเมล็ดก่อน เมล็ดที่นำไปเพาะควรงอกไม่ต่ำกว่า 80 เปอร์เซ็นต์
- อัตราเมล็ดพันธุ์ที่ใช้ตกกล้า 50 กรัมต่อ 1 ตารางเมตร หรือไร่ละ 80 กิโลกรัม
- นาหว่านใช้เมล็ดพันธุ์ 10 -15 กก./ไร่
การใส่ปุ๋ย
เพื่อ ต้นข้าวจะได้มีการแตกกอมากและให้ผลผลิตสูง ปุ๋ยควรใส่ทั้งแปลงกล้าและแปลงปักดำ ตลอดถึงพื้นที่นาที่ปลูกแบบหว่าน ธาตุอาหารที่ต้นข้าวต้องการมากในปุ๋ย ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปแตสเซียม และอาหารเสริมทางใบ
ดินนามีปริมาณแร่ธาตุอาหารต่ำที่สุด เพราะต้นข้าวได้ดูดเอาไปสร้างต้น ใบ และเมล็ด ทุกๆ ปี ด้วยเหตุนี้ชาวนาจึงจำเป็นต้องใส่ปุ๋ยทุกครั้งที่ปลูกข้าว เพื่อให้ได้ผลผลิตสูง
แต่การใส่ปุ๋ยเพื่อให้ได้ผลผลิตสูงชาวนาจะต้อง เลือกใช้พันธุ์ข้าวปลูกที่ถูกต้องด้วย เพราะข้าวบางพันธุ์ที่มีต้นสูง เมื่อได้รับปุ๋ยมากต้นของมันจะล้มและไม่ให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น จึงทำให้ชาวนาขาดทุนจากการใส่ปุ๋ย และข้าวบางพันธุ์ที่มีต้นเตี้ย เมื่อได้รับปุ๋ยมากขึ้นก็จะมีการเจริญเติบโต และให้ผลผลิตสูงมากยิ่งขึ้นตามจำนวนปุ๋ยที่ใส่
โดยมีระยะการใส่ปุ๋ย 3 ระยะดังนี้
แปลงกล้า : ก่อนตกกล้า
ปุ๋ยทางดิน - ปุ๋ยตราดาวนก สูตรซุปเปอร์ ดรากอน 10-20 กก./ไร่
พ่น ทางใบ - แตกกอ เร่งรวง 2-5 ซีซี. + ไฮแบค 10 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร พ่นได้ตลอดตามความเหมาะสม (แต่ละครั้งให้ห่างกัน 7 วันครั้ง)สะสมอาหารพัฒนาเมล็ด กำจัดโรคเข้าต้นข้าวในระยะกล้า ป้องกันกล้าเน่า กล้ายุบ โรคไหม้
ขยายกอ เร่งการแตกกอ
เพื่อ ต้นข้าวจะได้มีการแตกกอมากและให้ผลผลิตสูง ปุ๋ยควรใส่ทั้งแปลงกล้าและแปลงปักดำ ตลอดถึงพื้นที่นาที่ปลูกแบบหว่าน ธาตุอาหารที่ต้นข้าวต้องการมากในปุ๋ย ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปแตสเซียม และอาหารเสริมทางใบ
ดินนามีปริมาณแร่ธาตุอาหารต่ำที่สุด เพราะต้นข้าวได้ดูดเอาไปสร้างต้น ใบ และเมล็ด ทุกๆ ปี ด้วยเหตุนี้ชาวนาจึงจำเป็นต้องใส่ปุ๋ยทุกครั้งที่ปลูกข้าว เพื่อให้ได้ผลผลิตสูง
แต่การใส่ปุ๋ยเพื่อให้ได้ผลผลิตสูงชาวนาจะต้อง เลือกใช้พันธุ์ข้าวปลูกที่ถูกต้องด้วย เพราะข้าวบางพันธุ์ที่มีต้นสูง เมื่อได้รับปุ๋ยมากต้นของมันจะล้มและไม่ให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น จึงทำให้ชาวนาขาดทุนจากการใส่ปุ๋ย และข้าวบางพันธุ์ที่มีต้นเตี้ย เมื่อได้รับปุ๋ยมากขึ้นก็จะมีการเจริญเติบโต และให้ผลผลิตสูงมากยิ่งขึ้นตามจำนวนปุ๋ยที่ใส่
โดยมีระยะการใส่ปุ๋ย 3 ระยะดังนี้
แปลงกล้า : ก่อนตกกล้า
ปุ๋ยทางดิน - ปุ๋ยตราดาวนก สูตรซุปเปอร์ ดรากอน 10-20 กก./ไร่
พ่น ทางใบ - แตกกอ เร่งรวง 2-5 ซีซี. + ไฮแบค 10 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร พ่นได้ตลอดตามความเหมาะสม (แต่ละครั้งให้ห่างกัน 7 วันครั้ง)สะสมอาหารพัฒนาเมล็ด กำจัดโรคเข้าต้นข้าวในระยะกล้า ป้องกันกล้าเน่า กล้ายุบ โรคไหม้
ขยายกอ เร่งการแตกกอ
ปุ๋ยทางดิน ปุ๋ยตราดาวนก สูตรซุปเปอร์ ดรากอน 30 กก./ไร่
- นาดำ.......ใส่ก่อนปักดำ 1 วัน หรือใส่วันปักดำ
- นาหว่าน...ใส่หลังหว่าน 20 วัน
- นาแล้ง.....ใส่ปุ๋ยหลังจากข้าวงอกแล้ว 5-6 วัน
พ่นทางใบ แตกกอ เร่งรวง 10 ซีซี. + ไฮแบค 20 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร พ่นได้ทุก7 วันครั้ง
ขยายกอ เร่งการแตกกอ ป้องกันโรคเน่า รา ใบแห้ง ใบจุด ใบด่าง
เร่งการออกรวง
ปุ๋ยทางดิน ปุ๋ยตราดาวนก สูตรซุปเปอร์ ดรากอน 30-50 กก./ไร่ (แล้วแต่สภาพของต้นข้าว)
- นาดำ......ใส่หลังปักดำประมาณ 35-45 วัน หรือประมาณ 30 วัน ก่อนออกดอก
- นาหว่าน..เช่นเดียวกับนาดำ
- นาแล้ง....ก็เช่นเดียวกัน ..แต่ต้องพิจารณาเพิ่มอีกว่าดินจะต้องเปียกแฉะด้วย
พ่นทางใบ แตกกอ เร่งรวง 15 ซีซี. + ไฮแบค 20 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร
หมายเหตุ
1. หลังจากข้าวออกดอกแล้ว 20 วัน ควรระบายน้ำออกจากแปลงนา จะทำให้ต้นข้าวแก่สม่ำเสมอ
2. เมื่อข้าวอายุ 25-35 วัน หลังจากออกดอก ทำการเก็บเกี่ยวทันที จะได้ข้าวเปลือกคุณภาพดีและผลผลิตสูง
3. ระยะข้าวออกรวง ถ้าอากาศเย็น ความชื้นสูง ไม่มีแดด ระวังโรคไหม้ ระบาดพ่นกำจัดด้วย ไฮแบค กันไว้ก่อน
ข้อควรระวัง
- ก่อนหว่านปุ๋ยทุกครั้ง ควรระบายน้ำในแปลงออกเสียก่อน ถ้าในแปลงนาดำมีน้ำมากกว่า15 ซม.
- ระยะใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2 มักจะมีน้ำนาในมาก หรือท่วมคันนา ควรปล่อยน้ำออก
- ไม่ควรหว่านปุ๋ยในขณะฝนตก หรือมีน้ำไหลบ่าท่วมคันนาใหรอจนกว่าน้ำจะลดต่ำกว่าคันนา
- ในแปลงนา หากพื้นดินไม่เสมอกัน ต้องปรับระดับดินในระหว่างการคราดทุก ๆ ปี
- หลังใส่ปุ๋ยแล้ว อย่าให้แปลงนาขาดน้ำเกิน 7 วัน
- ช่วงข้าวตั้งท้องไปถึงก่อนเก็บเกี่ยว 10 วัน นาจะขาดน้ำไม่ได้เลย
- หมั่นเก็บหญ้าในนาข้าวออกอย่างน้อย 1-2 ครั้งก่อนใส่ปุ๋ยครั้งที่สอง จะทำให้ปุ๋ยได้ผลดี
- หมั่นตรวจและดูแล เพื่อป้องกันกำจัดโรคแมลงและศัตรูข้าวอื่น ๆ อยู่เสมอ
ที่มา:http://lektoto.blogspot.com/2012/05/blog-post.html
ช่วงข้าว55-60วันถ้าฉีด0-30-35ได้ใหมครับ
ตอบลบ